วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555







การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์(Motion of a Projectile) คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา
ข้อควรจำ
สำหรับการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล
1) ความเร่งในแนวระดับ (แกน x) = ศูนย์ นั่นคือ vx = คงที่ = ux ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ตรงไหนก็ตาม
พิสูจน์  ไม่มีแรงในแนวแกน X กระทำที่วัตถุ
จาก Fx = max
O = max
 ax = 0
จาก vx = ux + axt; ได้ vx = ux
2) ความเร่งในแนวดิ่ง (แกน Y ) = g
พิสูจน์  มีแรงกระทำที่วัตถุคือ w = mg ในทิศดิ่งลงตามแกน Y
จาก Fy = may
mg = may
 ay = g ทิศดิ่งลง
3) เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวโค้ง = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน X = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน Y
ตามรูปข้างบน สมมุติวัตถุวิ่งจาก O ไปตามทางโค้ง (เส้นประ) ถึง A (ทางโค้ง OA)
 เงาทางแกน X จะวิ่งจาก O ไปถึง B
เงาทางแกน Y จะวิ่งจาก O ไปถึง C
ดังนั้น tOA = tOB = tOC
4) ความเร็ว v ณ จุดใด ๆ จะมีทิศสัมผัสกับเส้นทางเดิน (เส้นประ) ณ จุดนั้น และ
(1) หาขนาดของ v โดยใช้สูตร
เมื่อ vx = ux = ความเร็วในแนวแกน X
vy = ความเร็วในแกน Y
(2) ทิศทางของ v หาได้โดยสูตร
เมื่อ x = มุมที่ v ทำกับแกน X
5) ณ จุดสูงสุด
vx = ux
vy = 0
หมายเหตุ บางทีเราเรียกวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ว่า "โปรเจกไตล์" และเราเรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การเคลื่อนที่ของโปรเจกไตล
วิธีคำนวณ
1) ตั้งแกน X ให้อยู่ในแนวระดับ และแกน Y อยู่ในแนวดิ่ง โดยจุดกำเนิด (origin) ต้องอยู่ที่จุดเริ่มต้น
2) แตกเวกเตอร์ทุกค่าคือ ความเร็ว ระยะทาง ให้อยู่ในแนวแกน X และ Y
3) คิดทางแกน X มีสูตรเดียว เพราะ ax = 0 คือ
4) คิดทางแกน Y ใช้สูตรทุกสูตรต่อไปนี้
5) กำหนดว่าทิศทางใดเป็นบวก (+) ทิศตรงข้ามจะเป็นลบ (-) แล้วแทนเครื่องหมาย + และ - ในเวกเตอร์ต่อไปนี้ Sx, Sy, Ux, Uy, Vy, ay สำหรับเวลาเป็นปริมาณสเกลาร์เป็น + เท่านั้น
ปกติ นิยมให้ทิศทางเดียวกับความเร็วต้น (ux และ uy ) เป็นบวก (+)
6) เมื่อคิดทางแกน X และแกน Y ตามข้อ 3),4)และ 5) แล้ว จะได้ 2 สมการ จากนี้ก็แก้สมการทั้งสอง ถ้ายังไม่สามารถแก้สมการได้ให้ใช้ความสัมพันธ์จากรูป ดังนี้
ทั้งรูป (ก) และรูป (ข) ใช้ความสัมพันธ์
เมื่อ y = ระยะทาง (การขจัด) ตามแนวแกน Y
x = ระยะทาง (การขจัด) ตามแนวแกน X
 =มุมที่ OA ทำกับแกน X
โปรดสังเกตว่า y ในรูป (ก) เป็น + เพราะอยู่เหนือแกน X และ Y ในรูป (ข) เป็น - เพราะอยู่ใต้แกน X แต่เราใช้ค่า y และ x ที่เป็น + เท่านั้น กับ tan เพราะ  น้อยกว่า 90 องศา ( <90 องศา)















การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular Motion)
XXXXXการเคลื่อนที่แบบวงกลม เป็นการเคลื่อนที่โดยมีแรงกระทำเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม และจะเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง ความเร็วจะมีค่าไม่คงที่ เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ โดยความเร็ว ณ ตำแหน่งใดจะมีทิศสัมผัสกับวงกลม ณ ตำแหน่งนั้น
XXXXXตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบวงกลมที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน ได้แก่ รถไฟเหาะ รถเลี้ยวโค้งในถนนโค้ง หรือนกบินโฉบเฉี่ยวไปมา เป็นต้น
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบวงกลมในชีวิตประจำวัน

XXXXXการเคลื่อนที่แบบวงกลมมีหลายลักษณะ ในที่นี้จะศึกษาการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ โดยวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบจุดศูนย์กลางจุดหนึ่ง ด้วยรัศมี r ดังรูป



XXXXXการศึกษาการเคลื่อนที่แบบวงกลม เราต้องเข้าใจปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ ได้แก่
XXXXX1. มุม (Angle) «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«/math»” มุมสามารถวัดในหน่วยของ เรเดียน (radian) หรือ องศา (degree) โดยมุมในหน่วยเรเดียนนิยามจากอัตราส่วนระหว่าง ความยาวของเส้นโค้งที่รองรับมุม «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«/math» ต่อ รัศมีของวงกลม ดังรูป
XXXXXXXXXXจากภาพเราพบว่า
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mfrac»«mi»s«/mi»«mi»r«/mi»«/mfrac»«/math»
XXXXXXXXXXดังนั้น เมื่อ «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»s«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»r«/mi»«/math» เราจะได้ «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«/math»= 1 เรเดียน เมื่อวัดเส้นรอบวงกลม พบว่า «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»s«/mi»«mo»=«/mo»«mn»2«/mn»«mi»§#960;r«/mi»«/math» ดังนั้น «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mn»2«/mn»«mi»§#960;«/mi»«/math» แต่เราทราบว่า หนึ่งรอบวงกลมทำมุมเท่ากับ 3600 เราได้ความสัมพันธ์ระหว่า มุมในหน่วยเรเดียน กับ องศา ดังนี้
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mtable columnalign=¨left¨ rowspacing=¨0¨»«mtr»«mtd»«mn»2«/mn»«mi»§#960;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»rad«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«msup»«mn»360«/mn»«mn»0«/mn»«/msup»«/mtd»«/mtr»«mtr»«mtd»«mi»§#960;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»rad«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«msup»«mn»180«/mn»«mn»0«/mn»«/msup»«/mtd»«/mtr»«/mtable»«/math»
XXXXXXXXXXเมื่อ «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»rad«/mi»«/math» คือ เรเดียน และบ่อยครั้งที่เราประมาณค่ามุมในการพิจารณาการเคลื่อนที่ ซี่งฟังชันก์ตรีโกณมิติเมื่อค่ามุมมีค่าน้อยๆ เราประมาณได้ว่า «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»§#952;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»§#8776;«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»sin§#952;«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»§#8776;«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»tan§#952;«/mi»«/math»
XXXXX2. คาบ (Period) “ T ” คือ เวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ครบ  1 รอบ มีหน่วยเป็น วินาที/รอบ หรือ วินาที
XXXXX3. ความถี่ (Frequency) “ f ” คือ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ภายในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น รอบ/วินาที หรือ เฮิร์ตซ์ (Hz)
XXXXXเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ คาบ และความถี่จะมีค่าคงที่ โดยคาบและความถี่สัมพันธ์กันโดย
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»T«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mfrac»«mn»1«/mn»«mi»f«/mi»«/mfrac»«/math»
ความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็วเชิงเส้น (v), คาบ (T) , และความถี่ (f)
XXXXXการเคลื่อนที่แบบวงกลมรอบจุดศูนย์กลางใดๆ ด้วยรัศมี r ด้วยอัตราเร็วคงที่ เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เราพบว่า
XXXXXXXXXXอัตราเร็วเชิงเส้นXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»v«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mfrac»«mi»s«/mi»«mi»t«/mi»«/mfrac»«/math»
XXXXXวัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ  «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»s«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mn»2«/mn»«mi»§#960;r«/mi»«/math» และ «math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»t«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mi»T«/mi»«/math» (คาบ)
XXXXXXXXXXดังนั้นXXXXXXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»v«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mfrac»«mrow»«mn»2«/mn»«mi»§#960;r«/mi»«/mrow»«mi»T«/mi»«/mfrac»«/math»
XXXXXXXXXXหรือXXXXXXXXXX«math xmlns=¨http://www.w3.org/1998/Math/MathML¨»«mi»v«/mi»«mo»§nbsp;«/mo»«mo»=«/mo»«mo»§nbsp;«/mo»«mn»2«/mn»«mi»§#960;rf«/mi»«/math»
วัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็วคงตัว




การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

            สมมุติว่าจัดให้ลูกเหล็กหมุนวนเป็นวงกลมอย่างสม่ำเสมอบนพื้นโต๊ะ แล้วถ้าทำให้เกิดเงาของลูกเหล็กปรากฏที่ผนังด้านข้างก็จะเห็นการเคลื่อนที่ของเงาเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายรอบจุดคงตัวจุดหนึ่ง
            เงาของลูกเหล็กเปรียบเสมือนเป็นวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เคลื่อนที่กลับไปกลับมารอบจุดคงตัวจุดหนึ่งŽ
            ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เช่น คาบ ความถี่ อัตราเร็วเชิงมุม จะมีค่าเดียวกับคาบ ความถี่ อัตราเร็วเชิงมุมของการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
            1.          คาบ (T) ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือ เวลาที่เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หน่วยวัดเป็น       วินาที
            2.          ความถี่ (f) ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือ จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ใน 1 วินาที
            3.          อัตราเร็วเชิงมุม หรืออาจเรียกว่าความถี่เชิงมุม = 2pf =  เรเดียนต่อวินาที
            อย่างไรก็ตามในการอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายมักอธิบายเกี่ยวกับการกระจัด  ความเร็วและความเร่งเหมือนการเคลื่อนที่แบบอื่นๆที่นักเรียนได้เรียนมาแล้ว
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายตามแนวระดับรอบจุดคงตัว 
            4.         การกระจัด ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือ การวัดระยะการย้ายตำแหน่งของวัตถุเมื่อเทียบกับจุดคงตัว และการกระจัดสูงสุดคือแอมพลิจูดของการเคลื่อนที่
            ตามรูป คือ การกระจัดของการเคลื่อนที่ ณ เวลาหนึ่ง
x = A sin vt
            เมื่อ       A คือ การกระจัดสูงสุดหรือแอมพลิจูดของการเคลื่อนที่
                                     vt  คือ มุมเฟส ณ เวลา t
            5.          ความเร็ว ของการเคลื่อนที่  Av cos vt  ความเร็วมีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ   เวลานั้น
ความเร็วของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
                        2           ขนาดความเร็วสูงสุดเป็น Av ขณะผ่านจุด O
                        2           ขนาดความเร็วเป็นศูนย์อยู่ที่ตำแหน่งที่การกระจัดสูงสุด 
            6.          ความเร่ง ของการเคลื่อนที่ = 2Av2 sin vt หรือ = 2v2x  ทิศความเร่งพุ่งเข้าหาจุด เสมอ
และขนาดของความเร่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
              
                        2           ขนาดความเร่งสูงสุดเป็น Av2 ขณะอยู่ที่ตำแหน่งที่การกระจัดสูงสุด
                        2           ขนาดของความเร่งเป็นศูนย์เมื่อผ่านจุด O
ระบบที่มีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
            1.          ระบบมวล - สปริง ผูกมวล กิโลกรัมที่ปลายสปริงแล้ววางบนพื้นโต๊ะเกลี้ยง ตรึงปลายสปริงอีกด้านหนึ่งไว้(ตัวสปริงขนานพื้นโต๊ะ) ทำให้มวลเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายรอบจุด O
            l           ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ที่ควรทราบดังนี้
                        1)          คาบ (T) ของการเคลื่อนที่ คือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ 1 รอบ (กี่วินาทีใน 1 รอบ)
                        2)          ความถี่ (f) ของการเคลื่อนที่ คือ จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ใน 1 หน่วยเวลา (กี่จำนวนรอบใน 1       วินาที)
 3) อัตราเร็วเชิงมุม = 2pf =  และถ้า เป็นค่านิจของสปริง 
                        4)          การกระจัด (x) วัดระยะที่มวลแกว่งออกจากจุด ณ ขณะใดๆ
                        5)          แอมพลิจูด (A)  วัดระยะแกว่งออกจากจุด สูงสุด
สมการขนาดการกระจัด คือ A sin vt
                        6)          ความเร็ว (v) ณ ขณะใดๆ มีทิศตามทิศการเคลื่อนที่ ณ ขณะนั้น
สมการขนาดความเร็ว คือ Av cos vt
                        7)          ความเร่ง (a) ณ ขณะใดๆ มีทิศเข้าหาจุดที่ต่ำสุด (เชือกอยู่แนวดิ่ง)
สมการขนาดความเร่ง คือ = 2Av2 cos vt หรือ = 2v2x
            ในกรณีที่พิจารณาการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายในแนวดิ่ง อาจอธิบายด้วยสมการต่อไปนี้
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายตามแนวดิ่งรอบจุดคงตัว O

            สมการขนาดการกระจัด คือ A cos vt
            สมการขนาดความเร็ว คือ = 2Av sin vt  
            สมการขนาดความเร่ง คือ = 2Av2 cos vt หรือ = 2v2y  
ระบบเพนดูลัมอย่างง่าย
            ระบบเพนดูลัมอย่างง่าย คือ ระบบที่มวลผูกเชือกแล้วแขวนให้เชือกอยู่ในแนวดิ่ง เมื่อทำให้มวลแกว่งโดยเชือกเบนจากแนวดิ่งน้อยๆ การเคลื่อนที่ของมวลจะเป็นแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย โดยเชือกเป็นความยาวแขนของการเคลื่อนที่
            l           ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ที่ควรทราบดังนี้
                        1)          คาบ (T) ของการเคลื่อนที่ คือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ 1 รอบ (กี่วินาทีใน 1 รอบ)
                        2)          ความถี่ (f) ของการเคลื่อนที่ คือ จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ใน 1 หน่วยเวลา (กี่รอบใน 1 วินาที)
                        3)          อัตราเร็วเชิงมุม  = 2pf =      
                                    และถ้า เป็นความยาวแขนของการเคลื่อนที่แล้ว =    
                        4)          การกระจัด (x) วัดระยะที่มวลแกว่งออกจากแนวดิ่งเริ่มต้น ณ ขณะใดๆ และเชือกเบนทำมุม            vt
                        5)          แอมพลิจูด (A)  วัดระยะแกว่งออกจากแนวดิ่งเริ่มต้นสูงสุด
สมการขนาดการกระจัด คือ A sin vt
                        6)          ความเร็ว (v) ณ ขณะใดๆ มีทิศตามทิศการเคลื่อนที่ ณ ขณะนั้น
สมการขนาดความเร็ว คือ A v cos vt
  
                        7)          ความเร่ง (a) ณ ขณะใดๆ มีทิศเข้าหาจุดที่ต่ำสุด (เชือกอยู่แนวดิ่ง)
สมการขนาดความเร่ง คือ Av2 cos vt หรือ = 2v2x




โจทย์การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

ข้อที่ 1)
ขีปนาวุธถูกยิงจากพื้นดิน ด้วยความเร็ว 60 เมตร/วินาที ในทิศทำมุม 30 องศา กับแนวระดับ กระสุนจะลอยอยู่ในอากาศเป็นเวลานานเท่าใดจึงจะตกถึงพื้นดิน และเคลื่อนที่ถึงจุดสูงสุดเป็นระยะเท่าใดจากพื้นระดับ
   4 วินาที, 40 เมตร
   6 วินาที, 45 เมตร
   8 วินาที, 60 เมตร
   10 วินาที, 100 เมตร

ข้อที่ 2)
ชายคนหนึ่ง ขว้างลูกบอลขึนไปจากพื้นดิน โดยทำมุม 45 องศา กับแนวระดับ ลูกบอลลอยอยู่ในอากาศนาน 3 วินาที จึงตกถึงพื้นดิน จงหา ลูกบอลขึ้นไปได้สูงสุดเท่าใด
   4.00 เมตร
   6.25 เมตร
   8.50 เมตร
   11.25 เมตร

ข้อที่ 3)
จากโจทย์ข้อ 2 ถ้าลูกบอลไปตกที่ระยะ 90 เมตร จากจุดขว้าง จงหาความเร็วตามแนวราบ มีค่าเท่าใด
   25 เมตร/วินาที
   30 เมตร/วินาที
   35 เมตร/วินาที
   40 เมตร/วินาที

ข้อที่ 4)
นักรักบี้คนหนึ่ง เตะลูกรักบี้ขึ้นด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ทำมุม 60 องศา กับแนวระดับ เขาจะต้องวิ่งด้วยความเร็วอย่างน้อยที่สุดเท่าไร จึงจะไปรับลูกรักบี้ที่เขาเตะออกไปเอง ได้พอดี ก่อนตกถึงพื้นดิน
   4 เมตร/วินาที
   6 เมตร/วินาที
   8 เมตร/วินาที
   10 เมตร/วินาที

ข้อที่ 5)
ยิงกระสุนปืน มวล 50 กรัม ด้วยความเร็วต้น 100 เมตร/วินาที ทำมุม 60 องศา กับแนวระดับ หลังจากนั้น 5 วินาที กระสุนตกกระทบเป้าบนหน้าผา จงหา เป้าอยู่สูงจากพื้น เท่าไร
   181 เมตร
   218 เมตร
   308 เมตร
   550 เมตร



                                         โจทย์การเคลื่อนที่แบบวงกลม



ปริมาณในแนวใดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่ไม่เกิดความเร่ง
  1.   แนวโค้ง
  2.   แนวดิ่ง
  3.   แนวราบ
  4.   แนววงกลม

การเคลื่อนที่ในแนววงกลมจะเกิดแรงชนิดใดเสมอ
  1.   แรงดึงดูดระหว่างวัตถุ
  2.   แรงสู่ศูนย์กลาง
  3.    แรงเฉื่อย
  4.   แรงไฟฟ้า
วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม 2 รอบ โดย 1 รอบมีระยะ 50 เมตร การกระจัดของวัตถุเป็นกี่ เมตร
  1.   50 เมตร
  2.   -50 เมตร
  3.    0 เมตร
  4.   100 เมตร
ข้อใดเป็นตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
  1.   ชูตลูกบาสเกตบอล
  2.   นั่งรถไฟเหาะตีลังกา
  3.   ปล่อยลูกบอลจากตึกสูง
  4.   เล่นชิงช้า
การแกว่งของสปริงในแนวราบโดยไม่คำนึงถึงแรงเสียดทานเป็นการเคลื่อนที่แบบใด
  1.   แนววงกลม
  2.   โพรเจกไทล์
  3.   ตกอย่างเสรี
  4.    ฮาร์มอนิกอย่างง่าย
                                                                         โจทย์การเคลื่อนที่แบบฮาร์มนนิก

1. (O-NET’49)รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตร/วินาที นานเท่าใดจึงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 500 เมตร
      1. 10 s
      2. 15 s
      3. 20 s
      4. 25 s

2. (O-NET’49)เด็กคนหนึ่งออกกำลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตร/วินาที เป็นเวลา 1 นาที วิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที อีก 1 นาที แล้วเดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 3 นาทีนี้ 
      1. 3.0 m/s
      2. 3.5 m/s
      3. 4.0 m/s
      4. 4.5 m/s

3. (O-NET’49)คลองที่ตัดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง 79 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B โดยรถยนต์ ถามว่าสินค้านั้นมีขนาดการกระจัดเท่าใด 
      1. 14 km
      2. 65 km
      3. 72 km
      4. 79 km

4. (O-NET’49)รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากเมือง A ไปเมือง B ที่อยู่ห่างกัน 200 กิโลเมตร ถ้าออกเดินทางเวลา 06.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด 
      1. 07.50 น.
      2. 08.05 น.
      3. 08.30 น.
      4. 08.50 น.

5. (O-NET’49)ถ้าปล่อยให้ก้อนหินตกจากยอดตึกสู่พื้น การเคลื่อนที่ของก้อนหินก่อนจะกระทบพื้นจะเป็นตามข้อใด ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ
      1. ความเร็วคงที่
      2. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ
      3. ความเร็วลดลงอย่างสม่ำเสมอ
      4. ความเร็วเพิ่มขึ้นแล้วลดลง

6. (O-NET’49)ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบเสรีโดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะจุดทุก ๆ 1/50 วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะระหว่างจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร และระยะระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็วเฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเป็นกี่เมตรต่อวินาที (แบบเติมคำตอบ)

7. (O-NET’49) A กับ B วิ่งออกำลังกายจากจุด ๆ หนึ่งด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ 4 เมตร/วินาที และ 6 เมตร/วินาที ตามลำดับ เมื่อเวลาผ่านไป 60 วินาที A กับ B จะอยู่ห่างกันกี่เมตร (แบบเติมคำตอบ)

8. (O-NET'50)รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด
      1. 2 m/s2
      2. 4 m/s2
      3. 12 m/s2
      4. 14 m/s2

9. (O-NET'50)เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดินทางไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้เดินทางด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที
      1. 0.2
      2. 1.0
      3. 1.4
      4. 2.0

10. (O-NET'50)ในการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง กราฟข้อใดแสดงว่าวัตถุกำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว
      1. 
      2. 
      3. 
      4. 
11. (O-NET’49)นอตขนาดเล็กผูกด้วยสายเอ็นแขวนไว้ให้สายยาว L ซึ่งสามารถเปลี่ยนให้มีค่าต่าง ๆ ได้ คาบของการแกว่ง T ของนอตจะขึ้นกับความยาว L อย่างไร
      1. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L
      2. T เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L
      3. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L2
      4.  เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L

12. (O-NET’49)รถไตถังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอและวิ่งครบรอบได้ 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแง่ความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่จะเป็นเท่าใด 
      1. 2.5 Hz
      2. 1.5 Hz
      3. 0.5 Hz
      4. 0.4 Hz

13. (O-NET’49)โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตร/วินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด (g=9.8 m/s2)
      1. 0.5 s
      2. 1.0 s
      3. 1.5 s
      4. 2.0 s

14. (O-NET’49)การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงตำแหน่งสูงสุด อัตราเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร 
      1. มีค่าเป็นศูนย์
      2. มีอัตราเร็วแนวราบเป็นศูนย์
      3. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
      4. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วเมื่อเริ่มเคลื่อนที่

15. (O-NET’49)ถ้าการแกว่งของนอตแบบอาร์มอนิกอย่างง่ายจากตำแหน่ง A ไป B ใช้เวลา 0.5 วินาที คาบการแกว่งจะมีค่ากี่วินาที (แบบเติมคำตอบ)

16. (O-NET’50)ยิงวัตถุจากหน้าผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว
      1. อัตราเร็ว
      2. ความเร็ว
      3. ความเร็วในแนวดิ่ง
      4. ความเร็วในแนวระดับ

17. (O-NET’50)เหวี่ยงจุกยางให้เคลื่อนที่เป็นแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 20 รอบใช้เวลา 5 วินาที จุกยางเคลื่อนที่ด้วยความถี่เท่าใด
      1. 0.25 รอบ/วินาที
      2. 4 รอบ/วินาที
      3. 5 รอบ/วินาที
      4. 10 รอบ/วินาที

18. (O-NET’50)การเคลี่อนที่ใดที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
      1. การเคลื่อนที่ในแนวตรง
      2. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว
      3. การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
      4. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย